การ แสดง โอวาท ปา ฏิ โมกข์

August 8, 2021

ยกหัวข้อธรรมะอันเป็นหลักของพระศาสนา เช่น ขันติ ขึ้นประกาศ 2.

ซึ้งรสพระธรรม ‘วันมาฆบูชา’ พร้อมรู้ลึก 'โอวาทปาฏิโมกข์' คืออะไร?

6 กุมภาพันธ์ 2563 | โดย ทีมข่าวกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ 22, 596 รู้ประวัติ "มาฆบูชา 2563" พร้อมทำความเข้าใจการแสดงธรรมเทศนา "โอวาทปาฏิโมกข์" ซึ่งเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นใน "วันมาฆบูชา" รวมทั้งนัยยะลึกซึ้งของพระธรรมที่ซ่อนอยู่ วันเพ็ญเดือน 3 หรือที่เรารู้จักในชื่อ "วันมาฆบูชา" เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง โดยมีเหตุการณ์สำคัญอย่าง จาตุรงคสันนิบาต ที่แปลความได้ว่า การประชุมด้วยองค์ 4 เกิดขึ้น ได้แก่ 1. เป็นวันที่พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า จำนวน 1, 250 รูป มาประชุมพร้อมกันที่เวฬุวันวิหารในกรุงราชคฤห์ โดยมิได้นัดหมาย 2. พระภิกษุสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" คือเป็นผู้ที่ได้รับการอุปสมบทโดยตรงจาก พระพุทธเจ้าทั้งสิ้น 3. พระภิกษุสงฆ์ทุกองค์ที่ได้มาประชุมในครั้งนี้ ล้วนแต่เป็นผุ้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุกๆ องค์ 4.

การทำจิตให้ผ่องใส ได้แก่ การทำจิตของตนให้ผ่องใส ปราศจากนวรณ์ซึ่งเป็นเครื่องขัดขวางจิตไม่ให้เข้าถึงความสงบ มี ๕ ประการ ได้แก่ ความพอใจในกาม (กามฉันทะ) ความอาฆาตพยาบาท (พยาบาท) ความหดหู่ท้อแท้ ง่วงเหงาหาวนอน (ถีนะมิทธะ) ความฟุ้งซ่าน รำคาญ (อุทธัจจะกุกกุจจะ) ความลังเลสงสัย (วิกิจฉา) เช่น สงสัยในการทำความดีความชั่ว ว่ามีผลจริงหรือไม่ วิธีการทำจิตให้ผ่องใส ที่แท้จริงเกิดขึ้นจากการละบาปทั้งปวงด้วยการถือศีลและบำเพ็ญกุศล ให้ถึงพร้อมด้วยการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนา จนได้บรรลุอรหัตผล อันเป็นความผ่องใสที่แท้จริง อุดมการณ์ ๔ ๑. ความอดทน ได้แก่ ความอดกลั้น ไม่ทำบาปทั้งทางกาย วาจา ใจ ๒. ความไม่เบียดเบียน ได้แก่ การงดเว้นจากการทำร้ายรบกวน หรือ เบียดเบียนผู้อื่น ๓. ความสงบ ได้แก่ ปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ ๔. นิพพาน ได้แก่ การดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนาเกิดขึ้นได้จาก การดำเนินชีวิตตามมรรคมีองค์ ๘ วิธีการ ๖ ๑. ไม่ว่าร้าย ได้แก่ ไม่กล่าวให้ร้ายหรือ กล่าวโจมตีใคร ๒. ไม่ทำร้าย ได้แก่ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ๓. สำรวมในปาติโมกข์ ได้แก่ ความเคารพระเบียบวินัย กฎ กติกา กฎหมาย รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีของสังคม ๔.

การไม่ทำบาปทั้งปวง 2. การทำกุศลให้ถึงพร้อม 3. การทำจิตใจให้บริสุทธิ์ ทั้งสามข้อนี้อาจอนุมานเข้ากับ ศีล สมาธิ และปัญญา อุดมการณ์ 4 ของพระพุทธศาสนา อันมีลักษณะที่แตกต่างจากศาสนาอื่น ได้แก่ 1. ความอดทนอดกลั้น เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจ 2. การมุ่งให้ถึงพระนิพพานเป็นเป้าหมายหลักของผู้ออกบวช มิใช่สิ่งอื่นนอกจากพระนิพพาน 3. พระภิกษุและบรรพชิตไม่พึงทำผู้อื่นให้ลำบากด้วยการทำความทุกข์กายหรือทุกข์ทางใจไม่ ว่าจะในกรณีใดๆ 4. พระภิกษุตลอดจนบรรพชิตต้องขอแก่ทายกด้วยอาการที่ไม่เบียดเบียน ( คือการไม่เอ่ยปากเซ้าซี้ขอ และไม่ใช้ปัจจัยสี่อย่างฟุ่มเฟือย) วิธีการ 6 ที่ธรรมทูตผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาถือเป็นกลยุทธ เพื่อเป็นไปในแนวทางเดียวกันและถูกต้องเป็นธรรม ได้แก่ 1. การไม่กล่าวร้าย 2. การไม่ทำร้าย 3. ความสำรวมในปาติโมกข์ (รักษาความประพฤติให้น่าเลื่อมใส) 4. ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร (เสพปัจจัยสี่อย่างรู้ประมาณพอเพียง) 5. ที่นั่งนอนอันสงัด (สันโดษไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ) 6.

ตาถาคต.

พระภิกษุสงฆ์ จำนวน 1, 250 รูป มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย 2. พระสาวกเหล่านี้ ล้วนเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือพระพุทธเจ้าทรงประทานอุปสมบทด้วยพระองค์เอง 3. พระภิกษุสงฆ์ทั้งหมดเป็นพระอรหันต์ผู้ได้อภิญญา 6 ได้แก่ แสดงฤทธิ์ได้ ระลึกชาติได้ ตาทิพย์ หูทิพย์ กำหนดรู้ใจคนอื่นได้ และบรรลุ อาสวักขยญาณ คือญาณหยั่งรู้ธรรมที่เป็นที่สิ้นแห่งอาสวะหรือกิเลสทั้งหลาย 4.

กรมการศาสนา

พระพุทธเจ้า ทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์ หลักคำสอน ของพระพุทธศาสนา ในวันมาฆบูชา บทสวดโอวาทปาฏิโมกข์ " วันมาฆบูชา" หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทย มีเหตุการณ์สำคัญที่เกิดในวันมาฆบูชาตามพุทธประวัติ ได้แก่ ตรงกับวันเพ็ญเดือน 3, พระภิกษุทั้ง 1, 250 องค์นั้น ได้มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย, พระภิกษุเหล่านั้นเป็นพระอรหันต์ทรงอภิญญา 6 พระภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ปลงผมด้วยมีดโกน เพราะพระพุทธเจ้าประทาน "เอหิภิกขุอุปสัมปทาน" ด้วยพระองค์เอง นอกจากนี้พระพุทธเจ้ายังได้แสดง "โอวาทปาติโมกข์**" ด้วย "โอวาทปาติโมกข์" คืออะไร?

การไม่ทำบาปทั้งปวง ได้แก่การงดเว้น การลดละเลิก ทำบาปทั้งปวง ซึ่งได้แก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแห่งความชั่ว มีสิบประการ อันเป็นความชั่วทางกาย ทางวาจา และทางใจความชั่วทางกาย ได้แก่ การฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การประพฤติ ผิดในกาม ความชั่วทางวาจา ได้แก่ การพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดเพ้อเจ้อ ความชั่วทางใจ ได้แก่ การอยากได้สมบัติของผู้อื่น การผูกพยาบาท และความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม ๒.

  1. ส่ง ทุเรียน เค อ รี่
  2. Teisseire Grenadine syrup 60cl / ไซรัป เตสแซร์ กลิ่นเกรนาดีน - Gds
  3. Amd phenom ii x4 945 ราคา
  4. ที่นอน lotus midas รุ่น lamp pantip
  5. รีวิว Ford Ranger 4 ประตู XLS รถดีมีน้อย | Ford PATHARA - YouTube
  6. โกนขนบริเวณอวัยวะเพศ แล้วมีตุ่มสีแดงขนาดเล็กหรือเป็นสิวหัวสีขาว มีอาการคัน ปวดแสบปวดร้อน ควรจะใช้ยาอะไร - ถาม พบแพทย
  7. 13 กรกฎาคม 2500 - วันประสูติพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ – THE STANDARD
  8. Black label ราคา 7 11 4
  9. Rabbit finance สมัคร งาน pantip sa
  10. ฟักทอง ทอด กรอบ วิธี ทํา
  11. หลวง พ่อ คูณ ปี 34 en ligne

แสดงโอวาทปาฏิโมกข์ | พระพุทธเจ้า, ภาพวาดพระพุทธเจ้า, การฝึกสมาธิ

การไม่ทำบาปทั้งปวง ไม่ว่าจะด้วยกาย วาจาและใจ 2. การทำกุศลให้ถึงพร้อม ได้แก่ การทำความดีทุกอย่าง 3. การทำจิตใจให้ผ่องใส ด้วยการละบาปทั้งปวง ถือศีลและบำเพ็ญกุศลให้ถึงพร้อมด้วยการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนา จนถึงขั้นบรรลุอรหันตผล อันเป็นความผ่องใสที่แท้จริง อุดมการณ์ 4 ได้แก่ 1. ความอดทน คือการอดกลั้น ไม่ทำบาปทั้งกาย วาจา ใจ 2. ความไม่เบียดเบียน คือ การงดเว้นจากการทำร้าย รบกวนหรือเบียดเบียนผู้อื่น 3. ความสงบ คือ ปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย วาจาและใจ 4. นิพพาน คือ การดับทุกข์ที่เป็นเป้าหมายสูงสุดในพุทธศาสนา ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อดำเนินชีวิตตามมรรคมีองค์แปด วิธีการ 6 ได้แก่ 1. ไม่ว่าร้าย คือ ไม่กล่าวให้ร้ายหรือโจมตีใคร 2. ไม่ทำร้าย คือ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น 3. สำรวมในปาติโมกข์ คือ ความเคารพระเบียบวินัย กติกา กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของสังคม 4. รู้จักประมาณ คือ รู้จักพอดี พอกินพออยู่ 5. อยู่ในสถานที่ที่สงัด คือ อยู่ในสถานที่ที่สงบและมีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม 6. ฝึกหัดจิตใจให้สงบ คือการฝึกจิต หมั่นทำสมาธิภาวนา หลักการ 3 ถือได้ว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็นการสอนหลักในการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องแก่พุทธศาสนิกชน ส่วนอุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 นั้น อาจจะเรียกได้ว่าเป็นหลักครูหรือหลักของผู้สอนคือ วิธีการที่จะนำไปปรับปรุงตัวให้เป็นกัลยาณมิตรทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่งผู้ใดปฏิบัติได้นอกจากจะเป็นแบบอย่างที่ดีแล้ว ยังจะช่วยเผยแพร่พระศาสนาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย

  1. วิลลา จ จิ โอ รังสิต คลอง 3
  2. วิธี การ โหลด ฟี ฟาย ใน โน๊ ต บุ๊ค
วง-flure-หาย-ไป-ไหน